Smart Cities

ระบบข้อมูลเปิดระดับพื้นที่เมืองโคราช

โครงการวิจัย “การพัฒนากลไกระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการวางแผนและพัฒนาเมืองโคราชอัจฉริยะ กรณีศึกษาสิ่งแวดล้อมอัจฉริยะด้านขยะเหลือศูนย์”

เมืองอัจฉริยะ : กรอบแนวคิดสำหรับการพัฒนาเมืองด้วยระบบนวัตกรรม

บรรยาย วิชาสัมมนาการแผนและพัฒนาเมือง สาขาวิชาการผังเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 6 พฤษภาคม 2565

ทฤษฎีการวางแผน กับการออกแบบโครงการวิจัย “ต้นแบบระบบนิเวศเมืองคาร์บอนต่ำที่น่าอยู่”

บรรยาย วิชาสัมมนาการวางแผนภาคและเมือง ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 26 สิงหาคม 2565

เมืองอัจฉริยะกับการขับเคลื่อนเมืองคาร์บอนต่ำ

สัมภาษณ์รายการ “รายการ “ฟ้าใส by ศิริวรรณ” ในหัวข้อ

โคราชเมืองอัจฉริยะ : รับรองเมืองอัจฉริยะประเทศไทย สู่มาตรการและส่งเสริม Digital Provider พื้นที่เมืองโคราช

งานพิธีมอบตราสัญลักษณ์เมืองอัจฉริยะประเทศไทย ประจำปี 2565 วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2566 เวลา 9:30 น. ณ ทำเนียบรัฐบาล โดยสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล

ผลงานวิจัยขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะจังหวัดนครราชสีมา

ร่วมรับการตรวจสอบประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จังหวัดนครราชสีมา (PMQA) ประจำปี พ.ศ.2566

ดาวโหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

เมืองอัจฉริยะ : กรอบแนวคิดสำหรับการพัฒนาเมืองด้วยระบบนวัตกรรม

ต้นแบบระบบนิเวศเมืองคาร์บอนต่ำที่น่าอยู่

บรรยาย วิชาสัมมนาการแผนและพัฒนาเมือง ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2565 เวลา 9:00-12:00 น.

ถอดบทเรียนการพัฒนาเมือง กรณีศึกษาการพัฒนาโคราชเมืองอัจฉริยะสู่คาร์บอนต่ำอย่างยั่งยืน

บรรยาย วิชา การวางแผนและการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองสู่การเป็นเมืองอัจฉริยะหลักสูตรสหสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ.2566 เวลา 13:30-16:00 น.

Korat Smart City : การขับเคลื่อนชุมชนสู่สังคมดิจิทัลเดินหน้าเมืองอัจฉริยะด้วยฐานงานวิจัย

บรรยายในวิชา รากเหง้า มทร.อีสาน  กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มทร.อีสาน ทุกสาขาวิชา วันอังคารที่ 19 กันยายน 2566 เวลา 13:00-16:00 น.

กลไกการวางแผนเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาการขับเคลื่อนเมืองโคราช

บรรยายพิเศษ วิชา สัมมนาวางแผนภาคและเมือง หลักสูตรการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2566 เวลา 13:00-16:00 น.

Smart City References

ตำแหน่งที่ตั้งจุดจอดสกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า (Micro Transit) เมืองโคราช

กิจกรรมนำร่องศึกษาความเป็นไปได้รูปแบบทางเลือกการเดินทางขนส่งมวลชนเมืองโคราช ในโครงการ การพัฒนาต้นแบบระบบนิเวศเมืองคาร์บอนต่ำที่น่าอยู่ โดยมีกรณีศึกษาการพัฒนาระบบโครงข่ายขนส่งสาธารณะเมืองโคราช โดยได้รับการสนับสนุนจาก กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุนส่งเสริม ววน.) และ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ปีงบประมาณ 2565 และ ปีงบประมาณ 2566 เมืองที่น่าอยู่อย่างชาญฉลาด

ดาวโหลด Application สำหรับการใช้สกู๊ตเตอร์ไฟฟ้า

ตำแหน่งที่ตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศเมืองโคราช